สุสานอเล็กซานเดรีย ความลับหลุมฝังศพใต้ดินของกษัตริย์

สุสานอเล็กซานเดรีย

สุสานอเล็กซานเดรีย สถานที่สำคัญดินแดนอียิปต์ สิ่งก่อสร้างที่เต็มไปด้วย ความลึกลับ งดงามมีมนต์ขลัง และเต็มไปด้วย ปริศนามากมาย หากใครมีโอกาสได้ไปเที่ยว แน่นอนว่าต้องมาเยี่ยมชมกันสักครั้ง นับว่าเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณ ที่หลายคนอยากเข้ามา สัมผัสด้วยตัวเอง

เปิดประวัติ สุสานอเล็กซานเดรีย บ้านหลังสุดท้ายสมัยโบราณ

สุสานแห่งอเล็กซานเดรีย (Catacombs of Kom El Shoqafa) หรือเรียกว่า หลุมฝังศพใต้ดินแห่งอเล็กซานเดรีย (The Catacombs of Alexandria) หนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ ของโลกยุคกลาง สำหรับฝังศพกษัตริย์ สมัยอียิปต์โบราณ นอกเหนือไปจาก รูปแบบของพีระมิด ตั้งอยู่ในเมืองอเล็กซานเดรีย ประเทศอียิปต์

โดยสุสานแห่งนี้ มีลักษณะเป็นอุโมงค์ขนาดใหญ่ เรียกว่า “คาตาโกมบ์” ขุดลึกลงไปในภูเขา หินทรายหลายชั้นกว่า 80 ฟุต สามารถเดินวนเวียนในอุโมงค์ได้ เป็นระยะทางกว่าหลายร้อยไมล์ โดยผนังถูกเจาะเป็นช่อง เอาไว้สำหรับเก็บศพ มีแท่นบูชากับตะเกียงดวงเล็ก [1]

สาระน่ารู้เกี่ยวกับ สุสานอเล็กซานเดรีย

สุสานอเล็กซานเดรีย

เรื่องราวของ สุสานอเล็กซานเดรียอียิปต์ หลายคนอาจไม่เคยรู้มาก่อน หนึ่งในนั้นมาจากนักโบราณคดี กล่าวว่าค้นพบสถานที่นี้ครั้งแรก ในขณะที่ขวดไวน์ และจานยังวางอยู่บนโต๊ะ และอีกหนึ่งความจริง ที่พิสูจน์ได้คือ โลงศพของกษัตริย์อเล็กซานเดรีย เป็นทองคำประดับอย่างงดงาม

แต่ยังไม่มีใครค้นพบ พระศพของกษัตริย์ มานานกว่าหลายพันปี รวมถึงสุสานแห่งนี้ ถูกใช้เป็นสถานที่ฝังศพของชาวโรมัน ในอดีตด้วยเช่นกัน จำนวนกว่า 50,000 คน ด้วยโครงสร้างขนาดใหญ่ที่มี 3 ชั้น จึงกลายเป็นแหล่งรวมญาติ รำลึกถึงคนตายอีกด้วย

สุสานอเล็กซานเดรีย สถานที่ท่องเที่ยวแดนอียิปต์

สุสานหลุมฝังศพใต้ดิน ปัจจุบันกลายเป็น สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยม แหล่งเรียนรู้อารยธรรมโบราณ สะท้อนความเจริญรุ่งเรือง และความยิ่งใหญ่สมัยอียิปต์ ซึ่งยังคงสภาพไว้ ค่อนข้างเกือบสมบูรณ์ สามารถเดินเข้าชมได้รอบอุโมงค์ เป็นที่น่าสนใจ ของนักโบราณคดี สำหรับค้นคว้าเรื่องราว ประวัติศาสตร์ต่อไป

สรุป สุสานอเล็กซานเดรีย อุโมงค์ฝังศพของโลกยุคกลาง

สุสานอเล็กซานเดรีย ตามการบันทึกไว้ ของนักโบราณคดี ยังไม่มีใครได้ค้นพบ พระศพของกษัตริย์อเล็กซานเดรียจนถึงปัจจุบัน ซึ่งอาจอยู่ใต้ดินตามบ้านเรือน ของชาวโรมันไปแล้วก็เป็นได้ ล้วนเป็นปริศนา ที่ต้องการหาคำตอบต่อไป ในดินแดนของอียิปต์

Facebook
Twitter
Telegram
LinkedIn
ข้อมูลผู้เขียน

แหล่งอ้างอิง

641